กรมสรรพากร

กรมสรรพากร

9 รายการ
การเก็บภาษีย้อนหลัง (Retroactive tax) คือ จะเกิดขึ้นหลังจากมีการตรวจสอบภาษีย้อนหลัง ซึ่งจะเป็นการป้องปรามทางภาษีอากร โดยการตรวจสอบภาษีย้อนหลังจะดำเนินการโดย 3 หน่วยงาน คือ กรมสรรพากร กรมศุลกากร กรมสรรพสามิต และสาเหตุที่โดนเรียกเก็บภาษีย้อนหลังมี 2 อย่างด้วยกันดังนี้
620 ผู้เข้าชม
งบเปล่า คืองบการเงินของธุรกิจที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล แต่ไม่ได้ดำเนินกิจการ ไม่มีรายได้และค่าใช้จ่ายใดๆ ไม่มีการซื้อขาย ซึ่งถ้าตลอดปีงบการเงินไม่มีการเคลื่อนไหวเลย ผู้ประกอบการก็ยังต้องมีหน้าที่ปิดงบการเงินส่งกรมพัฒนาธุรกิจการค้าและกรมสรรพากรประจำทุกปี หรือเรียกว่าการปิดงบเปล่าส่ง
4596 ผู้เข้าชม
กรมสรรพากรจัดให้มีทูตภาษี (Tax Ambassador) ณ สำนักงานสรรพากรพื้นที่ทั่วประเทศพร้อมให้คำปรึกษาแก่ผู้เสียภาษีและประชาชนเพื่อให้ชำระภาษีได้อย่างถูกต้องครบถ้วน หรือสามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ศูนย์สารนิเทศสรรพากร RD Intelligence Center 1161
791 ผู้เข้าชม
การยื่นภาษีถือว่าเป็น “หน้าที่” ของทุกคนที่มีรายได้เพื่อนำส่งภาษีให้แก่กรมสรรพากร ทั้งนี้ไม่ว่ารายได้ของคุณจะถึงเกณฑ์ที่ต้องเสียภาษีหรือไม่ก็ตาม ก็ยังคงเป็นหน้าที่ในการที่เราจะต้องยื่นภาษีให้ถูกต้อง หากไม่ยื่นภาษี และเราเองมีหน้าที่ต้องเสียภาษีตามเกณฑ์ที่กำหนดแล้ว ก็อาจทำให้กรมสรรพากรเรียกค่าปรับชำระภาษีล่าช้าจากเราได้ ดังนั้น "หากไม่อยากเสียค่าปรับย้อนหลังก็ควรศึกษาการยื่นภาษีให้ถูกต้อง"
2093 ผู้เข้าชม
มีปัญหาว่า บริษัทฯ จ่ายค่าน้ำมันรถให้กับพนักงานของบริษัทฯ ซึ่งได้ใช้รถยนต์ส่วนตัวไปใน กิจธุระของบริษัทฯ โดยจ่ายให้ในอัตรากิโลเมตรละ 5 บาท บริษัทฯ พนักงานจะต้องนำเงินได้จำนวนนี้ ไปรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหรือไม่ และมีข้อกำหนดให้ต้องมีหลักฐานอะไรบ้าง...
2976 ผู้เข้าชม
ทำความเข้าใจกันก่อนว่าการขายของออนไลน์นั้นหากไม่ได้มีการเปิดหรือจดทะเบียนในรูปแบบบริษัท จะถือเป็นการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาซึ่งถูกจัดอยู่ในเงินได้ประเภทที่ 8 คือเงินได้จากการค้าขาย และช่วงเวลาที่พ่อค้าแม่ค้าต้องยื่นภาษีจะมีอยู่ 2 ช่วงดังนี้...
27808 ผู้เข้าชม
เรามักได้เห็นผู้มีเงินได้ โดนกรมสรรพากรเรียกตรวจสอบกันมามากมาย ซึ่งคำว่าตรวจสอบอาจทำให้ใครหลาย ๆ คนเป็นกังวลว่าจะต้องรับมืออย่างไรความจริงแล้ว บางกรณีไม่ได้น่ากลัวอย่างที่คิด เพราะการเรียกตรวจสอบของกรมสรรพากรอาจเกิดขึ้นจาก กรมสรรพากรต้องการตรวจสอบข้อมูลหรือเอกสารเพิ่มเติม ดังนั้นถ้าโดนแล้วก็ต้องเคลียร์ให้เรียบร้อย...
1350 ผู้เข้าชม
เงินสมทบ เงินสมทบ คือ เงินที่นายจ้าง ลูกจ้าง ต้องนำส่งกองทุนประกันสังคมทุกเดือน ซึ่งในบทความนี้จะขอกล่าวถึงเฉพาะเงินสมทบสำหรับผู้ประกันตนกลุ่มที่ 1 กลุ่มทำงานประจำเท่านั้น ส่วนกลุ่มอื่นๆจะกล่าวถึงในบทความต่อๆไป กลุ่มผู้ประกันตนกลุ่มนี้จะคำนวณเงินสมทบจากค่าจ้างลูกจ้าง ซึ่งกำหนดไว้ไม่ต่ำกว่าเดือนละ 1,650 บาท และสูงสุดไม่เกินเดือนละ 15,000 บาท ซึ่งรัฐบาลจะร่วมสมทบด้วยส่วนหนึ่ง โดยลูกจ้างจะถูกนายจ้างหักเงินเดือนในอัตราร้อยละ 5 ของค่าจ้าง นายจ้างจะร่วมจ่ายสมทบด้วยในอัตราที่เท่ากัน คือร้อยละ 5 และรัฐบาลร่วมจ่ายสมทบด้วยในอัตราร้อยละ 2.75
3464 ผู้เข้าชม
ค่าปรับ ยื่นงบล่าช้า ไม่ยื่นงบ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กรมสรรพากร 1. ค่าปรับยื่นงบการเงินล่าช้าหรือไม่ได้ยื่นงบการเงิน คือ ค่าปรับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ หรือ หมายเรียกตำรวจ (สำนักงานตำรวจแห่งชาติ) – กรณีมิได้ยื่นงบการเงิน • ถ้าประชุมเกินกำหนดเวลา ก็จะเป็นกรณี “ไม่นํางบดุลเสนอเพื่ออนุมัติในที่ประชุมใหญ่ภายใน 4 เดือน นับแต่ วันที่ลงในงบดุล” จะถูกเรียกเก็บค่าปรับทั้งในส่วนของบริษัท 6,000 บาท และกรรมการผู้มีอํานาจ โดยคำนวณตามจำนวนกรรมการที่ลงชื่อผูกพันบริษัทคนละ 6,000 บาท • กรณีไม่นำส่งสำเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น (บอจ.5) ซึ่งตามกฎหมายต้องส่งภายใน 14 วันนับจากวันประชุมใหญ่สามัญประจำปี ซึ่งหากมิได้นำส่งตามกำหนดดังกล่าวมีโทษเปรียบเทียบปรับกรรมการคนละ 2,000 บาท 2. ค่าปรับกรมสรรพากร • ค่าปรับอาญายื่นแบบเกินกำหนด ไม่เกิน 2,000 บาท (ปกติต้องยื่นภงด.50 ภายใน 150 วันนับจากวันสิ้นรอบบัญชี) • ยื่นแบบไม่เกิน 7 วัน 1,000 บาท • ยื่นแบบเกิน 7 วัน 2,000 บาท • ค่าปรับอาญาไม่ยื่นงบการเงิน 2,000 บาท • เงินเพิ่ม ชำระในอัตรา 1.5% ต่อเดือน (เศษของเดือนนับเป็น 1 เดือน) กรณีมีภาษีที่ต้องชำระ • อายุความเปรียบเทียบปรับอาญา 1 ปี รายละเอียดเกี่ยวกับการยื่นงบการเงิน ** ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี ไม่ยื่นงบการเงินหรือยื่นล่าช้าเกินกำหนดเวลามีโทษปรับไม่เกิน 50,000 บาท และปรับผู้มีอำนาจทำการแทนกิจการอีกไม่เกิน 50,000 บาทด้วย ทั้งนี้ กรมฯ ได้กำหนดอัตราค่าปรับตามระยะเวลาที่ยื่นงบการเงิน หากยื่นงบการเงินล่าช้า อัตราค่าปรับก็จะเพิ่มขึ้น ** #โปรแกรมคำนวณภาษี#โปรแกรมภาษี#โปรแกรมบัญชี สรรพากรรับรอง#โปรแกรมบัญชี ที่ดีที่สุด#โปรแกรมภาษีมูลค่าเพิ่ม#โปรแกรมบัญชีสำหรับธุรกิจ SME#ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป บัญชี#โปรแกรม ซอฟต์แวร์บัญชี#Accounting software#โปรแกรมบัญชี
14127 ผู้เข้าชม
คอร์สอบรมการใช้งานโปรแกรม

คอร์สอบรมการใช้งานโปรแกรม

ลูกค้าโปรซอฟท์ อบรมฟรี ไม่มีค่าใช้จ่าย ที่ศูนย์ Prosoft Training Center
ติดต่อเรา

ติดต่อฝ่ายขาย

02-402-6117, 081-359-6920

sale@prosoft.co.th

ติดต่อฝ่ายบริการ โปรแกรมบัญชี

02-096-4900 กด 2 (AUTO)

02-402-8107

support@prosoftwinspeed.com

ติดต่อฝ่ายบริการ โปรแกรมเงินเดือน

02-096-4900 กด 3 (AUTO)

02-402-8138

support@prosofthrmi.com

สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์