Menu
Home
Products
Accounting Software
Prosoft WINSpeed
Human Resource Management
Prosoft HRMI
Employee Self Service (ESS)
Customer Relationship Management
Prosoft CRM
Logistics Management
Prosoft GPS
Other Products
Prosoft POS
Asset Management
Services
บริการหลังการขาย (MA)
อบรม Online (E-learning)
จองอบรม (In House)
คำถามที่พบบ่อย (FAQs)
คู่มือการใช้งาน (Help)
วิธีการชำระเงิน (Payment)
Customers
Site Reference
Prosoft WINSpeed
Prosoft HRMI
Success Stories
บรรยากาศการอบรม
More
ข่าวสาร
บทความ
About Us
Company Profile
Organization
Management Team
Our Business
Award & Standard
Prosoft Group
Our Family
Social Enterprise
Job Opportunity
Gallery
Office Location
นโยบายการรักษาข้อมูล
Contact Us
ติดต่อฝ่ายขาย จันทร์-ศุกร์ 08:30-17:45 น.
081-359-6920
,
02-402-6117
sale@prosoft.co.th
หน้าแรก
More
บทความ
บทความ
ย้อนกลับ
หน้าแรก
More
บทความ
หมวดหมู่ทั้งหมด
News & Events
ข่าวสาร
บทความ
การตลาด
การบริการ
การเงินและบัญชี
บริหารธุรกิจ
บริหารงานบุคคล
ค้นหา
บทความ
797 รายการ
เช่าทรัพย์กับภาษีอากร
เช่าทรัพย์กับภาษีอากร
เมื่อกล่าวถึงการเช่าทรัพย์หรือสัญญาเช่าทรัพย์แล้ว ท่านผู้อ่านหลายท่านที่คลุกคลีอยู่กับวงการภาษีอากรคงจะคุ้นเคยกันเป็นประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับภาษีอากรอย่างดีทั้งนี้ ก็เนื่องมาจากประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับภาษีอากรนั้นมีหลากหลายมากมายจนอาจกล่าวได้ว่าจำกันไม่ไหวเลยทีเดียว อย่างไรก็ดีไม่ว่าประเด็นปัญหาดังกล่าวกรมสรรพากรจะได้มีการวางแนววินิจฉัยไว้แล้วเพียงใดก็ตาม แต่ก็พบว่าผู้ที่เกี่ยวข้องก็ยังคงประสบกับปัญหาต่างๆ กันอยู่ไม่น้อย อาจเนื่องมาจากยังขาดความรู้ความเข้าใจในทางปฏิบัติเกี่ยวกับเอกเทศสัญญาเกี่ยวกับเช่าทรัพย์ตามความหมายของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรืออาจมีความเข้าใจในประเด็นปัญหาภาษีอากรที่คลาดเคลื่อนไปรวมทั้งในทางปฏิบัติมีการใช้คำว่า “เช่า” ให้ครอบคลุมไปถึงธุรกรรมอื่นที่ไม่ใช่ “เช่า” ตามความหมายของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เช่น การเช่าพระเครื่อง การเช่าชั่วโมงอินเทอร์เน็ต การเช่าพื้นที่เพื่อแสดงสินค้าในงานแสดงสินค้าต่างๆ เป็นผลทำให้ความเข้าใจในเรื่องของภาษีอากรเกี่ยวกับเอกเทศสัญญาที่เรียกว่า “เช่าทรัพย์” นั้นคลาดเคลื่อนไปด้วย ผู้เขียนจึงได้รวบรวมเอาเรื่องราวอันเกี่ยวกับการเช่าทรัพย์ ทั้งในด้านความเป็นเอกเทศสัญญาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และในด้านของภาษีอากร ไม่ว่าจะเป็นกรณีการมีรายได้จากการให้เช่าทรัพย์ว่าจะต้องมีภาระภาษีอะไรบ้าง เช่น จะต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคลอย่างไร ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่ และสัญญาเช้าที่ทำกันนั้นต้องติดอากรแสตมป์อย่างไรหรือไม่ รวมทั้งกรณีที่ผู้เช่าได้จ่ายค่าเช่าไปในบางกรณีว่าจะลงเป็นรายจ่ายทางภาษี หรือนำภาษีมูลค่าเพิ่มที่เกิดขึ้น (ถ้ามี) ไปใช้ได้หรือไม่อย่างไร
อ่านต่อ
3756 ผู้เข้าชม
มาทำความเข้าใจเกี่ยวกับหนังสือมอบอำนาจ
มาทำความเข้าใจเกี่ยวกับหนังสือมอบอำนาจ
การมอบอำนาจ คือ การที่บุคคลหนึ่งเรียกว่า ตัวการ มอบให้บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า ตัวแทน มีอำนาจทำการแทน และการกระทำนั้นมีผลทาง กฎหมายเสมือนว่าตัวการทำด้วยตนเอง การมอบอำนาจให้ทำกิจการใด ที่กฎหมายกำหนดว่าต้องทำเป็นหนังสือมอบอำนาจให้ ทำกิจการนั้น ก็ต้องทำเป็นหนังสือ เช่น การซื้อขายที่ดินกฎหมายกำหนดว่าต้องทำเป็นหนังสือ
อ่านต่อ
25279 ผู้เข้าชม
ดอกเบี้ยจากการฝากเงิน ต้องเสียภาษีอย่างไร?
ดอกเบี้ยจากการฝากเงิน ต้องเสียภาษีอย่างไร?
เอาแบบนี้ก่อนดีกว่า ถ้าเริ่มจากคำถามว่า ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารแบบไหนแบบไม่เสียภาษี พรี่หนอมอยากให้จำง่ายๆ ก่อนเลย 3 ตัว คือ ดอกเบี้ยที่เป็นเผื่อเรียกของธนาคารออมสิน กับ ดอกเบี้ยออมทรัพย์ของธ.ก.ส. และอีกตัวคือดอกเบี้ยออมทรัพย์ของสหกรณ์
อ่านต่อ
24706 ผู้เข้าชม
ควรทำอย่างไร? หากได้รับใบกำกับภาษีที่คำนวณผิด
ควรทำอย่างไร? หากได้รับใบกำกับภาษีที่คำนวณผิด
การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มกรณีที่มีจุดทศนิยมกรมสรรพากรได้กำหนดวิธีปฏิบัติไว้ ดังนั้นหากได้รับใบกำกับภาษีที่คำนวณภาษีซื้อผิดในหลักทศนิยม ผู้ประกอบการจดทะเบียนจะสามารถนำภาษีซื้อในใบกำกับภาษีมาใช้ได้อย่างไร
อ่านต่อ
650 ผู้เข้าชม
“ภาษี” ที่ไม่ควรเสียมากที่สุด คืออะไร ?
“ภาษี” ที่ไม่ควรเสียมากที่สุด คืออะไร ?
“ภาษี” เป็นรายจ่ายตัวหนึ่งที่สำคัญมากแล้วทุกคนต้องจ่าย นั่นก็คือ รายจ่ายเรื่อง “ภาษี” แต่ก็อย่างที่เรารู้กันว่าภาษีเป็นเรื่องที่ทุกคนยังไงก็ต้องจ่าย ไม่ว่าจะเป็นทางตรงอย่างช่วงต้นปีของทุกปีเราก็ต้องรายงานกับสรรพากรว่าเรามีรายได้เท่าไหร่ ต้องเสียภาษีเท่าไหร่ ถ้าใครจ่ายเกินไปก็ขอคืนได้ ถ้าใครจ่ายภาษีขาดไปก็จ่ายเพิ่ม หรือจะเป็นภาษีทางอ้อมที่บางครั้งก็จ่ายแบบไม่รู้ตัว เช่น ภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) ที่เวลาเราไปกินข้าวตามร้านค้าต่างๆแล้วมักจะมีตัวนี้แฝงมาด้วย
อ่านต่อ
708 ผู้เข้าชม
"ค่าโสหุ้ย คืออะไร"
"ค่าโสหุ้ย คืออะไร"
ค่าโสหุ้ย (Overhead Cost) คือ ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการผลิตสินค้าและบริการ เป็นต้นทุนแฝงที่ผู้ประกอบการจะต้องปรับให้ค่าโสหุ้ยลดลง เพื่อลดความเสี่ยงต่อการดำเนินธุรกิจและลดภาระค่าใช้จ่ายจิปาถะต่างๆ ที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้า ซึ่งโสหุ้ยที่ดีจะต้องมีค่าน้อย เพราะถ้าโสหุ้ยมากๆจะทำให้ธุรกิจเสี่ยงต่อการขาดทุน จึงมักนำโสหุ้ยที่เป็นต้นทุนคงที่มาปรับให้เป็นต้นทุนผันแปรนั่นเอง
อ่านต่อ
64063 ผู้เข้าชม
8 เช็คลิสต์ขั้นตอน การปิดบัญชีที่นักบัญชีทุกคนควรทำ
8 เช็คลิสต์ขั้นตอน การปิดบัญชีที่นักบัญชีทุกคนควรทำ
การปิดบัญชีที่นักบัญชีทุกคนควรทำ
อ่านต่อ
2525 ผู้เข้าชม
เงินสดย่อยเบิกจ่ายอย่างไร ให้เป็นระเบียบ
เงินสดย่อยเบิกจ่ายอย่างไร ให้เป็นระเบียบ
ไม่ว่าจะเป็นกิจการเล็กหรือใหญ่คงหนีไม่พ้นที่จะมีค่าใช้จ่ายเล็กๆ น้อยๆ ที่ต้องจ่ายจากเงินสด ระบบควบคุมภายในที่เกี่ยวกับเงินสด จะช่วยให้เราสามารถจัดการกับเงินสดได้โดยไม่ทำให้เกิดจุดอ่อนที่อาจก่อให้เกิดการรั่วไหลได้ ฉะนั้น การใช้จ่ายโดยผ่านระบบของเงินสดย่อยจึงจำเป็นอย่างช่วยไม่ได้ เงินสดย่อย Petty Cash Fund คือ เงินสดที่มีไว้ใช้จ่าย สำหรับค่าใช้จ่ายในจำนวนเงินที่เล็กๆ น้อยๆ และเป็นรายการที่เกิดขึ้นเป็นประจำ ในลักษณะที่ว่าไม่สะดวกพอที่จะจ่ายเป็นเช็ค สำหรับผู้ที่ดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับเงินสดย่อย เราเรียกง่าย ๆ ว่า
อ่านต่อ
1896 ผู้เข้าชม
เงินฝากธนาคารมีกี่ประเภท
เงินฝากธนาคารมีกี่ประเภท
เงินฝากธนาคาร (Bank Commercial) 5 ประเภท มี กี่ แบบ อะไรบ้าง
อ่านต่อ
6316 ผู้เข้าชม
เงินค่ามัดจำ คืออะไร
เงินค่ามัดจำ คืออะไร
ในทางบัญชี เงิน ค่า มัดจำ คือเกิดจาก การจ่ายเงิน หรือ รับเงิน แต่ยังไม่ได้ให้บริการ หรือส่งสินค้า ให้ได้ครบเต็มจำนวนมูลค่าของสินค้านั้น หรือบางครั้ง จ่ายเงินเต็มจำนวนของมูลค่าหรือสินค้าของบริการนั้นแล้วก็จริง แต่!! สินค้า หรือบริการยังให้ไม่ครบเต็มจำนวน ก็อาจใช้ชื่อบัญชีว่า เงินมัดจำ ในหลักการทางบัญชี ถือเป็น หนี้สิน (รายได้รับล่วงหน้า) ของกิจการ หรือค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้าของกิจการ ขึ้นอยู่กับว่า ได้ได้รับมา หรือ จ่ายออกไป
อ่านต่อ
71041 ผู้เข้าชม
ความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับการได้สิทธิ์วันหยุดพักผ่อนประจำปี
ความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับการได้สิทธิ์วันหยุดพักผ่อนประจำปี
ขออนุญาตอ้างอิงตาม พรบ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 30 :
อ่านต่อ
3225 ผู้เข้าชม
8 องค์ประกอบของการบริหารงาน ช่วยลดค่าใช้จ่ายให้องค์กร
8 องค์ประกอบของการบริหารงาน ช่วยลดค่าใช้จ่ายให้องค์กร
แนวคิดการบริหารงานแบบ Just-In-Time HR เป็นอีกทางเลือกที่ช่วยลดค่าใช้จ่ายให้องค์กรอย่างมีนัยสำคัญ โดยไม่กระทบเป้าหมายการบริหารงาน รวมทั้ง ยังเป็นการกระจายอำนาจการทำงาน HR ลงไปที่ระดับหัวหน้างานโดยตรงโดยมีที่มา มาจากระบบการผลิตแบบทันเวลาพอดี ช่วยควบคุมวัสดุคงคลังให้อยู่ในระดับที่น้อยที่สุด ลดระยะเวลารอคอยในกระบวนการผลิตให้น้อยที่สุด และขจัดความสูญเปล่าจากการผลิตที่มากเกินความต้องการ
อ่านต่อ
1045 ผู้เข้าชม
114861 ผู้เข้าชม
«
1
...
20
21
22
23
24
25
...
67
»
ไปหน้า :
ตกลง
(ทั้งหมด 6 รายการ)
ติดต่อเจ้าหน้าที่
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับทั้งหมด
×
ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น
เปิดใช้งานตลอดเวลา
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน
คุกกี้ในส่วนการตลาด
คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com