บทความ

บทความ

797 รายการ
ถึงแม้ว่านักบัญชีที่จบใหม่ได้ถูกสอนให้เรียนรู้ในวงจรการจัดทำบัญชี แต่อย่างไรก็ดี ก็ควรสอนให้นักบัญชีจบใหม่เข้าใจลำดับขั้นตอนวงจรในการจัดทำบัญชีให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ซึ่งประกอบด้วยอะไรบ้าง
536 ผู้เข้าชม
มนุษย์เงินเดือนทุกคนอาจคุ้นเคยกับใบสลิปเงินเดือนหรือ Payslip กันเป็นอย่างดี เพราะเราจะได้ใบนี้เป็นประจำในวันเงินออกสิ้นเดือน แต่มีใครสงสัยกันหรือไม่ว่าใบสลิปเงินเดือนนอกจากจะเอาไว้ดูยอดเงินเข้ารายเดือนแล้วยังใช้ทำอะไรได้อีก ซึ่งในวันนี้เราจะมาเฉลยให้ฟังอย่างละเอียด แล้วคุณจะรู้ว่าควรเก็บสลิปเงินเดือนไว้ให้ดี เพราะจะมีประโยชน์กับชีวิตคุณอย่างแน่นอน!
819 ผู้เข้าชม
ในวิถีของการทำงาน เมื่อเรามีคุณสมบัติตรงตามที่นายจ้างต้องการ และสามารถผ่านการสัมภาษณ์ จนสามารถเข้าทำงานในตำแหน่งที่ต้องการได้แล้ว เอกสารชิ้นแรก ๆ ที่เราจะได้จากบริษัทหรือหัวหน้างานที่เราสมัครงานคือ “หนังสือสัญญาจ้างงาน” ที่เราจะต้องเซ็นเพื่อให้กระบวนการเริ่มทำงานสมบรูณ์ แต่ก่อนที่จะเซ็นเอกสารวันนี้เรามาดูกันว่า ก่อนจะเซ็นเอกสารฉบับนี้ เราต้องทำอย่างไรบ้าง
8821 ผู้เข้าชม
แน่นอนว่าการพิจารณาผู้สมัครจาก Resume และการสัมภาษณ์งานอาจไม่ใช่เรื่องง่ายนัก โดยเฉพาะการประเมินเรื่อง Soft Skills ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่จับต้องได้น้อยกว่าเรื่องบุคลิกภาพหรือความสามารถด้าน Hard Skills จึงทำให้ HR หลายคนอาจมีคำถามหรือเกิดความลังเลใจว่าควรเลือกผู้สมัครแบบไหนดี?
423 ผู้เข้าชม
แน่นอนว่างานบางอย่างอาจสามารถทำคนเดียวได้ แต่งานนั้นอาจทำได้ดีกว่าหากร่วมกันทำงานเป็นทีม การทำงานเป็นทีมนั้นถือเป็นสิ่งที่ท้าทายสำหรับหลายคนและหลายองค์กร อาจเป็นเรื่องง่ายที่จะนำคนมาทำงานร่วมกัน แต่การทำให้คนเหล่านั้นกลายเป็นทีมที่ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพอาจต้องใช้เวลาเรียนรู้อีกมากมาย
12436 ผู้เข้าชม
ทุกครั้งที่นิติบุคคลจ่ายค่าบริการ จะต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายเพื่อนำส่งกรมสรรพากรไม่เกินวันที่ 7 ของเดือนถัดไป  กรณีลืมหักภาษี ณ ที่จ่าย จะสามารถนำมาเป็นค่าใช้จ่ายได้หรือไม่? หลักการพิจารณาให้แยกพิจารณาทีละภาษี
1455 ผู้เข้าชม
เอกสารประกอบการบันทึกค่าใช้จ่ายแบบไหนที่ไม่สามารถใช้ได้
514 ผู้เข้าชม
หากคุณทำงานล่วงเวลา เกินเวลาเลิกงานตามปกติ เช่น เวลางานปกติกำหนดให้พนักงานทำงานตั้งแต่เวลา 08.00 น. ถึง 17.00 น. แต่คุณต้องทำงานจนถึงเวลา 20.00 น. คุณจะได้รับค่าล่วงเวลาสำหรับวันทำงานปกติไม่น้อยกว่า 1.5 เท่าของค่าจ้างต่อชั่วโมงที่คุณได้รับตามปกติ ส่วนวันหยุด เช่น วันหยุดนักขัตฤกษ์ วันหยุดตามประเพณี วันหยุดเสาร์-อาทิตย์ คุณก็จะได้รับค่าล่วงเวลาไม่น้อยกว่า 3 เท่าของค่าจ้างต่อชั่วโมงที่คุณได้รับตามปกติ โดยมีวิธีการคำนวณดังนี้
427238 ผู้เข้าชม
การหักภาษี ณ ที่จ่าย แบ่งจากผู้รับเงินได้เป็น 2 ประเภท คือ
1222 ผู้เข้าชม
แม้ ภ.ง.ด.1 และ ภ.ง.ด.1ก จะมีหน้าที่บอกกรมสรรพากรว่าบริษัทมีพนักงานกี่คนแต่ละคนได้เงินเดือนเท่าไหร่และเสียภาษีหัก ณ ที่จ่ายไปเท่าไหร่แต่ก็มีความแตกต่างในการกรอกรายละเอียดและช่วงเวลาในการนำส่ง กล่าวคือ
65779 ผู้เข้าชม
114775 ผู้เข้าชม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์